วันพฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ชีวิตที่อุทิศแด่พระเจ้า (servan of god)

ดอกหญ้าน้อยๆแห่งภูเขาคาร์แมล "นักบุญเทเรซา มาร์กาเร็ต"




นักบุญเทเรซา มาร์กาเร็ต แห่ง พระหฤทัยศักดิ์สิทธิ์
St.Teresa Margaret of the Sacred Heart
ฉลองวันที่ 7 กันยายน


ยินตอนรับทุกท่านเข้าสู่ถิ่นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาหรือยุคเรอเนซองซ์ นามแคว้นทัสกานีหรือตอสกานาในภาษาอิตาลี แคว้นขนาดใหญ่ในภาคกลางของประเทศอิตาลี ที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม นอกจากนี้ แคว้นทัสกานีก็ยังขึ้นชื่อว่ามีทิวทัศน์งดงามมาก และมีไวน์ที่รสชาติดีเยี่ยมภาษาอิตาลีที่พูดกันในแคว้นทัสกานีเป็นที่ยอมรับว่าเป็นการพูดแบบชาวอิตาลีโดยแท้จริงและยอมรับให้เป็นสำเนียงราชการ นอกจากนั้นแคว้นนี้ยังเป็นที่ตั้งของเมืองมรดกโลกอีกถึง 6 เมือง


อาเรซโซ คือหนึ่งในจังหวัดของทัสกานี ณ ที่นี่ในวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ.1747 ในครอบครัวขุนนางขนาดใหญ่ของท่านเคานต์ อิกญาซิโอ เรดิ กับ คามิลลา บิลเลทิ  เด็กทารกเพศหญิงได้ถือกำเนิดขึ้นมาในฐานะบุตรคนที่สองจากสิบสามคนของครอบครัวและได้รับศีลล้างบาปในวันฉลองแม่พระแห่งภูเขาคาร์แมลซึ่งคือเช้าวันถัดมาด้วยนาม อันนา มารีอา

ที่อายุประมาณ 5 ปี บิดาของท่านเป็นพยานว่าท่านได้ถวายดวงใจของท่านทั้งหมดแด่พระเจ้าและท่านก็ใช้สิ่งอำนวยความสะดวกทั้งหมดของท่านเพื่อที่จะรู้และรักพระองค์  ซึ่งต่อมาท่านได้สารภาพ ณ ที่สารภาพบาปว่า จากวัยทารก  ดิฉันไม่เคยโหยหาและปรารถนาสิ่งอื่นใดนอกจากการที่จะกลายเป็นนักบุญ  หนูน้อยอันนาเติบโตขึ้นมาเป็นเด็กสาวที่มดวงตาสีฟ้าใสกับผมสีทอง



ในห้องนอนของท่านจะมีแท่นบูชาที่ท่านจะใช้เวลาในช่วงเช้าดื่มด่ำอยู่กับคำอธิษฐานเป็นเวลาหลายชั่วโมงอยู่ที่แท่นนั้น พี่ชายของท่านบันทึกว่าท่านดูราวกับส่วนเล็กน้อยของแม่พระ บ้านของครอบครัวท่านมีสวนอันงดงาม ก็จะพบท่านอยู่ในมุมใดมุมหนึ่งของสวนและกำลังจ้องมองไปยังสวรรค์และคิด ที่ใกล้ๆกับบ้านของท่านนั้นเป็นโบสถ์ที่ได้รับการรังสรรค์ตกแต่งด้วยภาพเฟสโกที่บอกเล่าเรื่องราวของนักบุญฟรานซิส แห่ง อัสซีซี ผู้ที่ท่านเลือกเป็นองค์อุปถัมภ์และแรงบัลดาลใจจากความรักและความยากจนของเขา



ด้วยวัยเพียง 7 ปี ท่านก็ได้เข้าใจถึงวิธีการค้นหาพระเจ้าในทุกสิ่งทั้งในดวงดาวและดอกไม้ และแม้ว่ามันจะเป็นบ้านที่สงบสุขและร่ำรวย เด็กๆก็ไม่ได้รับอนุญาตให้ไม่ทำงาน ดังนั้นท่านจึงได้เรียนรู้วิธีการตัดเย็บเสื้อผ้า การถักไหมพรม ซึ่งบางครั้งก็มีคนพบท่านถักไหมพรมขณะที่กำลังดื่มด่ำกับการสวดภาวนา ต่อมาเมื่อท่านอายุได้ 9 ปี ในขณะที่ครอบครัวส่วนมากไม่นิยมให้เด็กหญิงได้รับการศึกษาในโรงเรียนเพราะถือกันว่าเป็นเรื่องเสียเงินเปล่า แต่สำหรับครอบครัวเรดิ ไม่คิดเช่นนั้น แต่กลับกันพวกเขากลับสนันสนุนการให้การศึกษาแก่ลูกๆทุกคนของเขา รวมทั้งท่านด้วยบิดามารดาของท่านก็ได้ส่งท่านไปรับการศึกษาในโรงเรียนประจำนาม เซนต์อโพโลเนีย” ของคณะเบเนดิกติน ในเมืองฟลอเรนซ์

ที่บ้านมันเป็นเรื่องง่ายที่ท่านจะหลบไปภาวนาเงียบๆอย่างไม่มีใครเห็นอย่างที่ท่านเป็นประจำ แต่ไม่สำหรับที่โรงเรียน ท่านไม่สามารถทำเช่นนั้นได้โดยไม่เป็นที่สนใจ แต่กระนั้นท่านก็ไม่ละทิ้งชีวิตภายในของท่านไป แม้นภายนอกของท่านจะเป็นเช่นเด็กหญิงทั่วไป ท่านเริ่มพัฒนาแผนความสมดุลภายในของท่านด้วยอายุเพียง 10 ปี โดยท่านเล็งเห็นถึงความจำเป็นที่ภายนอกท่านจะปฏิบัติตัวเช่นคนอื่น ในขณะที่มุ่งมั่นอย่างเงียบๆในการก้าวไปสู่ความศักดิ์สิทธิ์ วิธีการของท่านคือการซ่อนตัวเองจากการเป็นที่สนใจ ท่านจะปรากฏตัวออกมาเหมือนเด็กคนอื่นๆหรือดีกว่าด้วยการเป็นเด็กที่ไม่มีใครสังเกตเห็น  ในขณะที่ชีวิตภายในนั้นมีแต่จะเจริญเติบโต


ซึ่งเหตุผลที่ท่านไม่อยากให้ใครเห็นชีวิตภายในของท่านมีสองประการ
ประการแรก : คุณธรรมของการทำดี สามารถลดลงเมื่อสัมผัสกับสายตาของผู้อื่น โดยการสรรเสริญและยินยอม ทำให้เรามีความพึงพอใจหรืออย่างน้อยประจบความรักตนเองและความภูมิใจของเรามากเกินไปและนั่นจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องมีเนื้อหาพระเจ้าเพียงเท่านั้น
ประการที่สอง คือเพื่อเลียนแบบชีวิตที่ซ่อนเร้นของครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ ที่เป็นเช่นครอบครัวทั่วไปในสายตาชาวนาซาเร็ท มิได้แตกต่างจากคนอื่นนี้แหละคือเป้าหมายของท่าน การที่จะไม่แตกต่างจากคนอื่น

แต่ทุกแผนงานจะต้องได้รับความช่วยเหลือ ท่านก็เช่นกันท่านก็ต้องพบปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการรับศีลมหาสนิทครั้งแรกของท่าน ซึ่งถูกจัดขึ้นในวันฉลองแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ เพราะท่านเริ่มเก็บความศักดิ์สิทธิ์ของท่านไม่อยู่แล้ว บางคนก็เริ่มสังเกตเห็นแล้วเช่นกัน ท่านพยายามที่จะเป็นเหมือนคนอื่นในทางกาย ดังนั้นท่านจึงพยายามไม่สารภาพบาปกับสงฆ์แต่เลือกบิดาของท่านเป็นพ่อวิญญาณรักษ์แทน โดยมีข้อแม้ว่าทุกครั้งที่ท่านส่งจดหมายไปหลังอ่านเสร็จต้องเผาทิ้งซึ่งบิดาของท่านก็ทำตามนานนับ 5 ปีจนที่สุดแล้ว ภายใต้การดูแลของคุณพ่อดอน เปโตร เปลเลกรินิ การติดต่อของสองพ่อลูกจึงจบลง


ในทันทีคุณพ่อดอน เปโตร เปลเลกรินิ มั่นใจทันทีว่าท่านมีกระแสเรียกและความรักของพระเจ้า ดังนั้นเขาจึงพยายามจะช่วยท่านใน การโผบินในมรรคาของพระเจ้า เขาให้หนังสือที่ดีแก่ท่านและคอยช่วยท่านให้ก้าวหน้าในชีวิตฝ่ายจิต มันทำให้ท่านประสพความสำเร็จ ตอนชีวิตจิตท่านเติบโตแบบก้าวกระโดด หลังจากนั้นท่านก็รับให้สารภาพบ่อยขึ้น ซึ่งทำให้ท่านรับศีลบ่อยเท่าๆกับภคินี ตามความเห็นของเพื่อนร่วมชั้น ครู ต่างคิดว่าท่านเป็นสาวทั่วไปผู้แสนดีไม่มากก็น้อย

นอกจากนั้นท่านยังเก็บงำความรักต่อแม่พระพระมารดาของพระเจ้าไว้ตั้งแต่เด็ก มีครั้งหนึ่งในโรงเรียนขณะที่ท่านกำลังถืออ่างที่เต็มไปด้วยถ่านที่ร้อนลงบันได ท่านเกิดลื่นตกจากบันได ฉับพลันท่านร้องไห้ออกมาดังๆต่อหน้ารูปภาพแม่พระ ที่แขวนอยู่ใกล้เชิงบันได อัศจรรย์ท่านลงมาอยู่ด้านล่างโดยถ่านยังคงที่ไม่เป็นอะไรเลย แม้กระเด็นมาถูกเสื้อผ้าของท่านก็หามีไม่ เหตุการณ์นี้แสดงให้เห็นถึงความรัก ความเอ็นดู ที่แม่พระมีต่อท่านอย่างแท้จริง

ขณะนี้ท่านอายุ 16 ปีแล้ว การศึกษาในโรงของท่านใกล้จบลง ท่านก็พบถึงความยากของการตัดสินใจเกี่ยวกับอนาคตของท่าน ท่านวาดหวังถึงชีวิตทางศาสนาและรักภคินีที่นี้ แต่มันเหมือนมีอะไรขาดหายไป จนกระทั้งในเดือน กันยายน ค.ศ.1763 ท่านและภคินีถูกเชื้อเชิญให้ไปร่วมงานอำลาเพื่อนในวัยเด็กของท่านนาม เชชีเลีย อัลเบรโกททิ ที่มาเยี่ยมอารามก่อนที่เขาจะไปเข้าอารามคาร์เมไลท์นักบุญเทเรซา ในฟลอเรนซ์ ในห้องพูดคุย (speakroom) เชชีเลียบอกแก่ท่านว่าเธออยากคุยกับท่านมานานแล้วแต่ไม่มีโอกาส อย่างไรก็ตามก่อนจากกันเธอได้จับมือของท่านพร้อมมองหน้าท่านอย่างพินิจ ก่อนพูดว่าไม่มีอะไรและจากไป


 หลังจากนั้นท่านเดินกลับห้องด้วยความรู้สึกแปลกๆอยู่ภายใน ทันทีท่านก็ได้ยินเสียงหนึ่งตรัสกับท่านว่าฉันเทเรซา และฉันต้องการให้เธอเป็นหนึ่งในลูกสาวของฉัน มันทำให้ท่านสับสนและหวาดกลัว ดังนั้นท่านจึงเลือกที่จะเดินไปที่โบสถ์และคุกเข่าต่อหน้าศีล และเป็นอีกครั้งหนึ่งที่เสียงเดิมกล่าวกับท่านว่าฉันเทเรซาแก่งพระเยซูเจ้า และฉันพูดกับเธอว่าเร็วๆนี้เธอจะพบตัวเองอยู่ในอารามของฉัน ในตอนนี้ในใจท่านพบสันติแล้ว ท่านรู้แล้วว่าคาร์แมลคือคำตอบที่ท่านต้องการ

แต่กระนั้นท่านก็ยังเก็บงำเรื่องนี้ไว้เป็นความลับเป็นเวลานาน จนกระทั้งบิดาของท่านมารับตัวท่านกลับบ้านและเก็บเรื่องนี้ไว้อีกหลายเดือน ระหว่างนั้นท่านใช้เวลาไปกับการสำรวจตัวเองว่าเหมาะกับคาร์แมลไหมและพยายามใช้เวลาส่วนมากในห้องของท่าน เพื่อดื่มด่ำการภาวนาและอ่านหนังสือเสริมศรัทธา และต่อมาท่านก็ได้รับอนุญาตให้ฝึกเข้าเงียบ ท่านพยายามที่จะทำบางส่วนของงานคนรับใช้และท่านปล่อยให้คนอื่นเลือกเสื้อผ้าให้โดยไม่ต้องสนความคิดของท่านและท่านก็พยายามที่จะหลีกเลี่ยงที่จะเปลี่ยนเสื้อผ้าระหว่างวัน ท่านมักจะมอบอาหารที่ท่านเหลือแก่คนยากคนจน



และหลังจากหลายเดือนแห่งการสำรวจ ท่านจึงตัดสินใจไปปรึกษาคุณพ่อเยซูอิตท่านหนึ่งชื่อ เจอโรม มารีอา จอนิ ซึ่งเขาแนะนำให้ท่านนำเรื่องนี้ไปปรึกษากับมารดาของท่าน ดังนั้นในวันเกิดอายุ 17 ปีของท่าน ท่านจึงได้ออกความประสงค์ที่จะเข้าอารามของท่าน โดยความไม่รู้มารดาของท่านได้นำเรื่องนี้ไปบอกแก่บิดาท่าน ซึ่งคำตอบที่ได้มาคือไม่ไปก่อน แต่หลังจากการตรวจสอบกระแสเรียกแล้วโดยบิดาท่าน เขาก็อนุญาตให้ท่านเขียนจดหมายสมัครไปยังคุณแม่อธิการของอารามนักบุญเทเรซา ใน ฟลอเลนซ์

จนแล้วรอดญาติๆก็ต่างโน้มน้าวใจท่าน บิดาของท่านก็ด้วย แต่กระนั้นหลังจดหมายตอบรับถูกส่งกลับมา บิดาของท่านก็ได้ตัดสินใจที่จะพาท่านไปส่งด้วยตัวเอง โดยมารดาของท่านได้แนะนำให้ท่านไปแสวงบุญที่ภูเขาอัลเวอร์เนีย(Alvernia) อันเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่นักบุญฟรานซิสรับรอยแผลศักดิ์สิทธิ์ แต่ต่อมาในช่วงครึ่งหลังของเดือนสิงหาคมในปี ค.ศ.1764 ขณะที่ท่านกำลังจะจากไป มารดาของท่านกำลังล้มป่วยลง ดังนั้นท่านจึงได้คุกเข่าลงที่ข้างเตียงมารดาของท่านและได้ขอพรและล่ำลา แต่มารดาของท่านในตอนนั้นไม่สามารถพูดได้แม้นเพียงคำเดียว คงมีแต่เพียงน้ำตาที่ตอบกลับมา มารดาของยืนยันว่าท่านนิ่งเป็นหินเป็นเวลาเกือบชั่วโมง ก่อนที่จะกลับมาสดใสเช่นเดิม และเมื่อมาถึงฟลอเลนซ์ ท่านได้แวะไปเยี่ยมอารามอันเป็นที่เรียนเก่าของท่านอารามนักบุญอโพโลเนีย เพื่อกล่าวคำอำลา ก่อนเดินเข้าประตูอารามคาร์แมลของฟลอเลนซ์ซึ่งตอนนี้คือบ้านของท่านแล้วซึ่งวันนั้นตรงกับวันที่ 1 กันยายน ค.ศ.1764



บ้านของทูตสวรรค์ คือคำที่ท่านใช้เรียกอาราม และ ทูตสวรรค์ คือคำที่ท่านเรียกบรรดาภคินี ในจดหมายขออนุญาตเข้าอาราม ท่านได้ระบุเป้าหมายของท่านคือ แข่งขันกับพวกเขาในความรักอันศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้า  ท่านเชื่อเสมอว่าท่านมิควรอยู่ท่ามกลางพวกเขา ท่านสารภาพจากใจว่า ลูกเชื่อ คุณพ่อของลูก ภคินีเหล่านี้เป็นนักบุญและทูตสวรรค์ที่แท้จริง ลูกตัวสั่นเมื่อลูกคิดถึงความแตกต่าง ลูกมาจากพวกเขา ไกลแค่ไหนจากตัวอย่างของพวกเขา เชื่อลูก ลูกมิคู่ควรจริงๆที่จะวางตัวลูกไว้ใต้ฝ่าเท้าของพวกเขาและทำหน้าที่พื้นสำหรับพวกเขา อย่างต่อเนื่องทำให้พวกเขารำคาญ ทั้งหมดลูกดีสำหรับการที่จะช่วยให้พวกเขาในการฝึกคุณธรรมของความอดทนอย่างต่อเนื่อง ลูกไม่ทราบวิธีการที่พวกเขาเริ่มที่จะทนลูก

ปกติระยะเวลาการเป็นโปสตุลันต์จะกินเวลาทั้งสามเดือน แต่สำหรับท่านต้องเพิ่มไปอีกหนึ่งเดือนเพราะที่เหนือหัวเข่าข้างขวาเกิดบวมเป่งเป็นฝีขึ้นมา ซึ่งในระยะแรกๆท่านก็ยังคงเก็บเรื่องนี้ไว้เป็นความลับและยังคงคุกเข่ากับพื้นเชนเดิม จนกระทั้งท่านป่วยด้วยไข้หวัดทำให้ความลับนี้ถูกเปิดเผย ดังนั้นท่านจึงต้องเข้ารับการผ่าตัดเอาฝีนั้นออกด้วยการขูดการติดเชื้อออกจากกระดูก ซึ่งทำได้โดยไม่ต้องดมยาสลบ ซึ่งภคินีหลายคนต่างทึ่งในความกล้าหาญของท่าน แต่กระนั้นท่านก็ยังตำหนิตนเองที่เผลอทำเสียงคางเล็กน้อยในขณะผ่าตัด



และด้วยความกลัวว่าท่านอาจจะจะถูกยกเว้นจากการเป็นนวกะเพราะความมิคู่ควรของท่าน ท่านถึงกลับคุกเข่าลงต่อหน้าคุณแม่อธิการ เพื่อขออภัยสำหรับความล้มเหลวของท่าน พร้อมกับสัญญาว่าจะทำให้ดีกว่านี้ แต่เป็นความจริงที่ว่าท่านไม่ต้องกังวล เพราะทุกคนต่างคิดว่าท่านคือของขวัญและลูกสาวที่แท้จริงของนักบุญเทเรซา ดังนั้นทุกคนจึงมีมติเป็นเอกฉันท์ให้ท่านสามารถเข้าเป็นนวกะได้

เป็นธรรมเนียมที่ผู้หัดจะต้องรอการลงคะแนนเสียง ช่วงเวลานั้นเองท่านได้เยี่ยมครอบครัวของท่าน ท่านจึงได้ใช้เวลาอันมีค่ากับบิดาของท่าน และเมื่อถึงกำหนดบิดาของท่านก็ได้พาท่านไปส่งยังอารามเพื่อเตรียมเข้าพิธีรับเสื้อในเช้าวันถัดมา ที่นี่คนรอบข้างต่างตกใจที่พบท่านกับในสภาพซีดเซียว และเย็นวันนั้นท่านก็ได้ปรับทุกข์อยู่กับตัวเอง อีกทั้งร้องไห้จนถึงจุดที่คุณแม่อันนา มารีอา ตกใจและนึกสงสัยว่าท่านยังคงความสงบได้ไงตลอดทั้งวัน


12 มีนาคม ค.ศ.1765 วันนี้ฝูงชนมากมายที่รู้จักท่านต่างแห่แหนมาที่อาราม เพื่อร่วมพิธีรับเสื้อของท่าน วันนี้ท่านกลับมาเป็นเช่นเดิมคือสงบและสดใส เมื่อถึงเวลาท่านจึงเข้าพิธีเพื่อรับชุดศักดิ์สิทธิ์ของคณะพร้อมๆกับนามใหม่ว่า เทเรซา มาร์กาเร็ต มารีอานิ แห่ง พระหฤทัยศักดิ์สิทธิ์  ในวันนั้นดวงใจของท่านเปี่ยมล้นไปด้วยสันตสุขที่มนุษย์มิอาจสรรสร้างขึ้นได้

ในฐานะนวกะใหม่ไฟแรง หน้าที่แรกของท่านคือการทำความสะอาดทั่วไปกับงานอีกเล็กๆน้อยๆ แต่กระนั้นท่านก็เริ่มงานที่จะใช้เวลาและพลังมากในการทำ กว่าหนึ่งปีท่านได้รับหน้าที่พยาบาลผู้ป่วย ท่านคอยให้ความช่วยเหลือนวกะใหม่ด้วยการช่วยเตรียมที่พักในแต่ละคืน จากนั้นท่านก็จะใช้เวลาในการดูแลนวกะที่ไม่สบาย ส่วนในเวลาว่างของท่านก็จะหมดไปกับการช่วยเหลือสถานพยาบาลเล็กน้อยสำหรับภคินีที่ป่วยหนัก และในบางครั้งท่านก็ย้ายเข้าไปนอนในห้องของภคินีที่ป่วยเพื่อจะสามารถดูแลเขาในช่วงเวลากลางคืน นอกเหนือจากช่วงเวลาภาวนาแล้วท่านจะใช้เวลาทั้งหมดไปกลับการบริการและทุกงานที่ท่านทำจะได้ผลที่เกิดคาดหมาย

แน่นอนว่านวะต้องมีพี่เลี้ยง ท่านก็เช่นกันท่านมีพี่เลี้ยงคือภคินีเทเรซา มารีอา กัวดากนิ เธอเป็นคนที่รู้วิธีที่จะหาข้อผิดพลาดและข้อบกพร่องในทุกสิ่งที่ท่านทำและจะตำหนิท่านทันทีที่ท่านทำผิด และทันทีท่านก็จะก้มกราบตามประเพณี โดยที่มิขัดข้องหรืองขุ่นหมอง มีพยานหลายคนเห็นว่าท่านไม่เคยปริปากบ่นเลยแม้แต่นิด ซึ่งท่านปฏิบัติเช่นนึ้จนวันตายของท่าน

หนึ่งปีหลังจากรับเสื้อคณะท่านก็ได้รับอนุญาตให้เขาพิธีปฏิญาณตน อาการเช่นเดิมเหมือนคราวรับเสื้อคณะก็กลับมาราวีท่านอีกครั้ง ทั้งภายในและภายนอก ภายนอกฝีที่เคยเป็นกลับมาอีกครั้งหนึ่งแต่ในที่สุดก็หายไป ภายในของท่านก็เต็มไปด้วยความกลัวว่าพวกเขาจะไม่ให้ท่านปฏิญาณตนเพราะความผิดพลาดจำนวนมากและความไม่ครบครันของท่าน ท่านแทบไม่เชื่อเมื่อพวกเขาอนุญาตให้ท่านเข้าพิธีได้ นอกจากนั้นท่านยังคอยสำรวจตัวของท่านเองว่ามีสิ่งใดเป็นอุปสรรค์ต่อการชิดสนิทกับพระ เมื่อพบท่านก็จะขจัดมาทิ้งไป


ดังนั้นต่อมาในวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ.1766 ท่านจึงได้เข้าพิธีปฏิญาณตน และด้วยความรู้สึกว่าไม่คู่ควร ท่าน ท่านจึงขอเป็นที่รูจักว่า ภคินีผู้เรียบง่าย” ซึ่งท่านถือความเรียบง่ายและอ่อนน้อมถ่อมตนตลอดชีวิต จนเรียกได้ว่า ไม่มีงานใดที่ต่ำต้อยเกินท่าน

หลังจากนั้นท่านก็ได้ประจำอยู่ที่ห้องซาคริสตานในฐานะผู้ช่วย แต่กระนั้นท่านก็ไม่เคยผู้ป่วย ท่านยังคงแวะไปดูแลพวกเขาเสมอ เพราะท่านรักงานนี้ด้วยเหตุผลที่ว่า พระเจ้าเป็นความรัก ท่านกล่าวว่าความรักของเพื่อนบ้านประกอบด้วยในการให้บริการ” มีพระหรรษทานมากมายในจากความเห็นอกเห็นใจของท่านไม่ว่าจะเป็นพระพรในการคุยกับภคินีที่หูหนวกที่ไม่มีใครสามารถติต่อได้นอกจากท่าน พระพรการรักษาที่ดูไม่ใช่อัศจรรย์ แต่ดูผิดปกติ และนอกจากนั้นท่านยังพระพรการหยั่งรู้ว่าผู้ป่วยต้องการเมื่อไรและในทันทีไม่ว่าท่านจะอยู่ส่วนไหนของอารามท่านก็จะรีบไปหาผู้ป่วยคนนั้น

และยังมีอัศจรรย์อีกเรื่องหนึ่งโดยเรื่องมีอยู่ว่าวันหนึ่งขณะที่ท่านอยู่ในห้องอาหาร ท่านได้พบภคินีรูปหนึ่งกำลังทุกข์ทรมานจากอาการปวดฟัน ด้วยความเห็นอกเห็นใจของท่าน ท่านจึงลุกไปหาเขาและจูบตรงที่เขาเจ็บ ก่อนจะกลับมานึ่งที่เดิมพร้อม เป็นอัศจรรย์ภคินีรูปนั้นหายจากอาการปวดเป็นปลิดทิ้ง ในวันอาทิตย์หนึ่ง ขณะที่นักร้องประสานเสียงร้องว่า พระเจ้าคือความรัก  พระเจ้าก็ได้ทรงประทานความเข้าใจในวลีนี้แก่ท่าน ซึ่งมันทำให้ท่านปิติยินดีเป็นยิ่งนัก


ท่ามกลางการเสียสละอย่างยาวนาน 4 มีนาคม ค.ศ.1770 ท่านเข้าสารภาพบาปเพื่อเตรียมรับศีลในเช้ารุ่งขึ้น ท่านก็รู้สึกถึงลางว่าท่านจะจากไปในไม่ช้านี้ จนกระทั้งวันที่ 6 มีนาคม ปีเดียวกันท่านอยู่เฝ้าป่วยจนไม่สามารถไปทานอาหารเย็นพร้อมกับภคินีท่านอื่น ดังนั้นท่านจึงไปรับอาหารเป็นคนสุดท้ายและขณะที่ท่านกำลังจะเดินกลับห้องนอนของท่าน พลันท่านก็ต้องประสพความเจ็บปวดจนท่านทำได้แต่เพียงลากตัวไป จนกระทั้งท่านทรุดตัวลงและได้ร้องขอความช่วยเหลือ

ท่านจึงถูกนำตัวไปยังห้องพัก ที่ตลอดคืนท่านต้องทนกับอาการเจ็บท้องอย่างรุนแรงจนไม่ได้นอนและถึงแม้ว่ามันจะเจ็บปวดซักเพียงใดท่านก็พยายามไม่ร้องออกมาเพราะท่านกลัวว่ามันจะรบกวนเพื่อนภคินีห้องข้างๆของท่าน ท่านปฏิเสธที่จะมีคนมาเฝ้าท่านในตอนกลางคืน ในเช้าวันถัดแพทย์ถูกตามตัวมาอีกครั้งและพบว่าอวัยวะภายในของท่านเป็นอัมพาตไปแล้ว เขาแนะนำให้ท่านควรรับศีลมหาสนิทครั้งสุดท้าย แต่สถานพยาบาลเห็นว่าไม่จำเป็นจึงไม่มีการตามพระสงฆ์มาและไม่เต็มใจเพราะท่านอาเจียนออกมาตลอดเวลา

ท่านมิได้ร้องขอศีลมหาสนิทแต่ประการใดเพราะท่านมีลางสังหรแล้วตั้งแต่การรับศีลมหาสนิทครั้งสุดท้ายของท่าน ในตอนนี้มือข้างหนึ่งของท่านกำกางเขน ที่ในเวลาต่อมา ท่านจะยกมันขึ้นมาประทับจูบตามบาดแผลทั้ง 5 และขานนาม พระเยซูเจ้า แม่พระ ต่อด้วยอธิษฐานต่อไปในความเงียบ ที่สุดแล้วเวลา 15.00น. ของวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ.1770 ท่านก็ได้ไปรับบำเหน็จของท่านในสวรรค์ด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้มไร้อาการตรีทูต โดยไม่กี่ชั่วโมงก่อนที่ท่านจะจากไปท่านก็ได้สูญเสียการเคลื่อนไหวและการพูดไป ดังสงฆ์ที่ถูกตามมาจึงทำได้เพียวทำสำคัญมหากางเขนบนหน้าผากท่านเท่านั้น


ไม่นานหลังจากนั้นร่างของท่านก็เริ่มบวมอืดและแข็งกระด้าง ใบหน้าและคอมีสีฟ้า แขนขามีสีดำ ถึงขั้นที่ว่าบรรดาภคินีคิดไม่ตกเรื่องงานศพของท่านเพราะตอนนี้สภาพท่านไม่ใช่ภคินีน้อยที่พวกเขารู้จักและอยู่ด้วยมาห้าปี ดังนั้นจึงมีการคิดว่าจะฝังท่านในทันที แต่อัศจรรย์ในขณะที่กำลังมีการย้ายร่างของท่าน พลันร่างของท่านก็มีการเปลี่ยนแปลงไปจากที่คล้ำก็เริ่มกลับมาเป็นสีซีดอ่อน ดังนั้นจึงมีการเลื่อนเวลาฝังท่านไป ซึ่งก็ต้องมีอันตกตะรึงเมื่อบัดนี้ร่างของท่านมีอันกลับไปเป็นเช่นเดิม เป็นภคินีน้อยที่น่ารักที่ไม่มีงานใดต่ำต้อยเกินเธอ

ด้วยประการฉะนี้จึงมีการเลื่อนกางฝังศพท่านไปอีกเป็นในเย็นวันที่ 99 มีนาคมแทน ซึ่งในตอนนี้สภาพร่างของท่านเหมือนคนที่กำลังหลับไปเท่านั้น และหลังจากการตรวจสอบแพทย์ก็ต่างยืนยันว่าท่านเหมือนคนที่กำลังหลับไป ไม่มีย่อยสลายใดเลยในร่างกาย

หลังจากนั้นที่หลุมศพของท่านก็มีกลิ่นหอมลึกลับลอยฟุ้งออกมา ในขณะที่ดอกไม้หน้าหลุมของท่านนั้นเหี่ยวเฉาไปแล้ว กลิ่นหอมนั้นก็ยังอยู่ ห่างออกไปที่บ้านของท่านมารดาของท่านก็ได้รายงานถึงกลิ่นหอมลึกลับในบ้านที่ท่านเคยอยู่  สองสัปดาห์ต่อมามีการเปิดหลุมศพของท่านอีกครั้งเพื่อดำเนินการตรวจสอบอย่างละเอียดโดยแพทย์ ผู้แทนวาติกันและพระสังฆราชประจำฟลอเลนซ์ ซึ่งผลที่ออกมาปรากฏว่าร่างของท่านยังคงเป็นเหมือนคนที่นอนหลับไปเฉยๆ


และในวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ.1805 โอกาสสมโภชพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า ก็ได้มีการย้ายร่างของท่านขึ้นมาไว้ในโลงแก้วและตั้งไว้ในอารามคาร์แมลในฟลอเลนซ์ และในวันที่มิถุนายน ค.ศ.1929 โดย สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11ท่านก็ได้รับการสถาปนาเป็นบุญราศี และต่อมาในวันที่ 19 มีนาคม ค.ศ.1934 ท่านก็ได้รับการสถาปนาเป็นนักบุญที่ใช้นามเทเรซาเป็นคนที่สามของของคณะถัดจากนักบุญเทเรซาแห่งพระเยซูเจ้าและนักบุญเทเรซาแห่งพระกุมารเยซู โดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11


หากเปรียบชีวิตท่านก็เหมือนดอกหญ้าที่ซ่อนกายอยู่ท่ามกลางหญ้ามากมายในทุ่ง แม้มองเผินๆจะไม่เห็นท่าน แต่เมื่อฤดูใบไม้ร่วงมาถึง ท่านก็กลับโดดเด่นออกมาด้วยสีที่สะดุดตาท่ามกลางสีน้ำตาลของหญ้าป่านั้นและเมื่อถึงเวลา สายลมก็จะพัดพามันไปสู่ยังอีกสถานที่หนึ่ง ดังชีวิตของท่านที่ภายนอกเหมือนเด็กทั่วไปในช่วงแรกๆ แต่กลับกันในตอนท้ายของชีวิตท่านกลับโดดเด่นและแพร่กระจายไปทั่ว เฉกเช่นละอองหญ้าที่ปลิวไปตามสายลม

หากมองดีแล้วท่านคือผู้ที่เปี่ยมไปด้วยบุญลาภข้อที่ว่า เป็นบุญของผู้มีใจเมตตากรุณา เหตุว่าเขาจะได้รับพระเมตตาดุจเดียวกัน”(เทียบมัทธิว 5:7) เช่นกันท่านมีความเมตตาต่อภคินี นวกะผู้ป่วย ท่านอุทิศเวลเกือบทั้งหมดของท่านเพื่อเขา ไม่ใช่ความเมตตาหรือที่ทำให้ท่านทำสิ่งๆนี้  มิใช่ความรักดอกหรือที่ทำให้ท่านดูแลพวกเขา และเป็นความจริงตามพระวรสารเพราะหลังจากที่ท่านสิ้นใจไปแล้วท่านก็ได้ไปสวรรค์เพื่อรับบำเหน็จของท่านเอง อะไรคือเครื่องยืนยันนะหรือ? ก็อัศจรรย์ยังไงละ อัศจรรย์มากมายที่เกิดหลังจากที่ท่านสิ้นไปแล้ว นี้แหละคือเครื่องหมายของสวรรค์ที่ยืนยันว่าท่านไปสวรรค์แน่นอน

ข้าแต่ท่านนักบุญเทเรซา มาร์กาเร็ต แห่ง พระหฤทัยศักดิ์สิทธิ์ ช่วยวิงวอญเทอญ

Margaret Beaufort, Countess of Richmond and Derby

Margaret Beaufort (Br [ˈbɛʊfɨt][1]), Countess of Richmond and Derby (31 May 1443 – 29 June 1509) was the mother of King Henry VII and paternal grandmother of King Henry VIII of England. She was a key figure in the Wars of the Roses and an influential matriarch of the House of Tudor. She founded two Cambridge colleges.

Contents

  [hide

Early life[edit source | editbeta]

Margaret was born at Bletsoe CastleBedfordshire, on 31 May 1443 or 1441. The date and month are not disputed, as she required Westminster Abbey to celebrate her birthday on 31 May. The year of her birth is more uncertain. William Dugdale, the 17th century antiquary, has suggested that she may have been born two years earlier, in 1441. This suggestion is based on evidence of inquisitions taken at the death of Margaret's father. Dugdale has been followed by a number of Margaret's biographers. However, it is more likely that she was born in 1443, as in May 1443, her father had negotiated with the King about the wardship of his unborn child in case he died on a campaign.[2]
She was the daughter of Margaret Beauchamp of Bletsoe and John Beaufort, 1st Duke of Somerset. Margaret's father was a great-grandson of King Edward III through his third-surviving son, John of Gaunt, Duke of Lancaster. At the moment of her birth, Margaret's father was preparing to go to France and lead an important military expedition for King Henry VI. Somerset negotiated with the king to ensure that, in case of his death, the rights to Margaret's wardship and marriage would belong only to his wife. Somerset fell out with the king after coming back from France, however, and he was banished from the court and was about to be charged with treason. He died shortly afterwards. According to Thomas Basin, Somerset died of illness, but the Crowland Chronicle reported that his death was suicide. Margaret, as his only child, was the heiress to his fortunes.[3]
On Margaret's first birthday, the King broke his arrangement with Margaret's father and gave her wardship to William de la Pole, 1st Duke of Suffolk, although Margaret remained with her mother. Margaret's mother was pregnant at the time of Somerset's death, but her sibling did not survive and Margaret remained sole heir.[4] Although she was her father's only legitimate child, Margaret had two half-brothers and three half-sisters from her mother's first marriage, whom she supported after her son's accession.[5]

Marriages[edit source | editbeta]

First marriage[edit source | editbeta]

Margaret was married to Suffolk's son, John de la Pole. The wedding may have been held between 28 January and 7 February 1444, when she was perhaps, a year old, but certainly, no more than three. However there is more evidence to suggest they were married in January 1450 after Suffolk had been arrested and was looking to secure his son's future. Papal dispensation was granted on 18 August 1450 because the spouses were too closely related and this concurs with the later date of marriage.[6] Three years later, the marriage was dissolved and King Henry VI granted Margaret's wardship to his own half-brothers, Jasper and Edmund Tudor.[7][8][9] Margaret never recognised this marriage. In her will, made in 1472, Margaret refers to Edmund Tudor as her first husband. Under canon law, Margaret was not bound by the marriage contract as she was entered into the marriage before reaching the age of twelve.[7]

Second marriage[edit source | editbeta]

Lady Margaret Beaufort
Even before the annulment of her first marriage, Henry VI chose Margaret as a bride for his half-brother, Edmund Tudor, 1st Earl of Richmond. Edmund was the eldest son of the king's mother,Dowager Queen Catherine (of Valois,) by Owen Tudor.[7]
Margaret was 12 when she married 24-year old Edmund Tudor on 1 November 1455. The Wars of the Roses had just broken out; Edmund, a Lancastrian, was taken prisoner by Yorkist forces less than a year later. He died of the plague in captivity at Carmarthen the following November, leaving a 13-year-old widow who was seven months pregnant with their child.
Taken into the care of her brother-in-law Jasper, at Pembroke Castle, the Countess gave birth on 28 January 1457 to her only child, Henry Tudor, the future Henry VII of England. The birth was particularly difficult; at one point, both the Countess and her child were close to death, due to her young age and small size. After this difficult birth she would never give birth again.[10]
Margaret and her son remained in Pembroke until the York triumphs of 1461 saw the castle pass toLord Herbert of Raglan.[11] From the age of two, Henry lived with his father's family in Wales and from the age of fourteen, he lived in exile in France. During this period, the relationship between mother and son was sustained by letters and a few visits.[12]
The Countess always respected the name and memory of Edmund, as the father of her only child. In 1472, sixteen years after his death, Margaret specified in her will that she wanted to be buried alongside Edmund, even though she had enjoyed a long, stable and close relationship with her third husband, who had died in 1471.[citation needed]

Third marriage[edit source | editbeta]

On 3 January 1462, Margaret married Sir Henry Stafford (c.1425–1471), son of Humphrey Stafford, 1st Duke of Buckingham. A dispensation for the marriage, necessary because Margaret and Stafford were second cousins, was granted on 6 April. The Countess enjoyed a fairly long and harmonious marital relationship during her marriage to Stafford. Margaret and her husband were given 400 marks worth of land by Buckingham, but Margaret's own estates were still the main source of income. They had no children.[13]
She became a widow again in 1471.[citation needed]

Fourth marriage[edit source | editbeta]

Thomas Stanley, 1st Earl of Derby
In June 1472, Margaret married Thomas Stanley, the Lord High Constable and King of Mann. Their marriage was at first a marriage of convenience. Recent historians have suggested that Margaret never considered herself a member of the Stanley family.[14]
She conspired against Richard III with the dowager queenElizabeth Woodville. As Elizabeth's sons, the Princes in the Tower, were presumed murdered, the two women agreed on the betrothal of Margaret's son, Henry, to Elizabeth of York, the eldest daughter of Edward IV and his wife Elizabeth Woodville; thus Henry became king Henry VII.[citation needed]
Margaret's husband also secretly conspired against Richard. When summoned to fight at the Battle of Bosworth Field in 1485, Thomas Stanley stayed aloof from the battle, even though his eldest son, George Stanley (styled Lord Strange), was held hostage by Richard. After the battle, it was Stanley who placed the crown on the head of his stepson (Henry VII), who later made him Earl of Derby. Margaret was then styled "Countess of Richmond and Derby".[citation needed]
Later in her marriage, the Countess preferred living alone. In 1499, with her husband's permission, she took a vow of chastity in the presence of Richard FitzJamesBishop of London. Taking a vow of chastity while being married was unusual, but not unprecedented, as around 1413, Margery Kempealso negotiated a vow of chastity with her husband. The Countess moved away from her husband and lived alone at Collyweston. She was regularly visited by her husband, who had rooms reserved for him. Margaret renewed her vows in 1504.[15]

The King's Mother[edit source | editbeta]

Henry VII, Margaret's only child
After her son won the crown at the Battle of Bosworth Field, the Countess was referred to in court as "My Lady the King's Mother". As such, she enjoyed legal and social independence which other married women could not (see Coverture). Her son's first parliament recognised her right to hold property independently from her husband, as if she were unmarried.[16]Towards the end of her son's reign she was given a special commission to administer justice in the north of England.[17]
As arranged by their mothers, Henry married Elizabeth of York. The Countess was reluctant to accept a lower status than the dowager queen Elizabeth or even her daughter-in-law, thequeen consort. She wore robes of the same quality as the queen consort and walked only half a pace behind her.[citation needed]
Margaret had written her signature as M. Richmond for years, since the 1460s. In 1499, she changed her signature to Margaret R., perhaps to signify her royal authority (R standing either for regina – queen in Latin as customarily employed by female monarchs – or for Richmond). Furthermore, she included the Tudor crown and the caption et mater Henrici septimi regis Angliæ et Hiberniæ ("and mother of Henry VII, king of England and Ireland").[18][19]
Many historians believe the departure from court of dowager queen Elizabeth Woodville in 1487 was partly at the behest of Henry's influential mother, though this is uncertain.[20] The Countess was known for her education and her piety, and her son is said to have been devoted to her. He died on 21 April 1509, having designated his mother chief executor of his will. She arranged her son's funeral and her grandson's coronation. At her son's funeral she was given precedence over all the other women of the royal family.[citation needed]

Death[edit source | editbeta]

The Countess died in the Deanery of Westminster Abbey on 29 June 1509. This was the day after her grandson's 18th birthday and just over two months after the death of her son. She is buried in the Henry VII Lady Chapel of the Abbey, in a black marble tomb topped with a bronze gilded effigy and canopy, between the graves of William and Mary and the tomb of Mary, Queen of Scots.[citation needed]

Legacy[edit source | editbeta]

Lady Margaret Beaufort at prayer, later copy by Rowland Lockey, perhaps of a contemporary original
In 1497 she announced her intention to build a free school for the general public of Wimborne, Dorset. With her death in 1509, Wimborne Grammar School, now Queen Elizabeth's School, came into existence.[citation needed]
In 1502 she established the Lady Margaret's Professorship of Divinity at the University of Cambridge.[citation needed]
In 1505 she refounded and enlarged God's House, Cambridge as Christ's College with a royal charter from the king. She has been honoured ever since as the Foundress of the College. A copy of her signature can be found carved on one of the buildings (4 staircase, 1994) within the College. In 1511, St. John's College, Cambridge was founded by her estate, either at her direct behest or at the suggestion of her chaplain, St. John Fisher. Land that she owned around Great Bradley in Suffolk was bequeathed to St. John's upon its foundation. Her portrait hangs in the Great Halls of both Christ's and St. John's, accompanied by portraits of St. John Fisher. Both Colleges also have her crest and motto as the College arms. Furthermore, various societies, including the Lady Margaret Society as well as the Beaufort Club at Christ's, and the Lady Margaret Boat Club at John's, were named after her.[citation needed]
Lady Margaret Hall, the first women's college at the University of Oxford, was named in her honour.[citation needed]
She funded the restoration of Church of All Saints, Martock and the construction of the church tower.[21]
There is a school named after her in Riseley, Bedfordshire.[citation needed]

Portraits[edit source | editbeta]

There is no surviving portrait of Margaret Beaufort dating from her lifetime. All known portraits, however, are in essentially the same format, depicting her in her later years, wearing a long, peaked, white headress and in a pose of religious contemplation. Most of these were made in the reign of Henry VIII and Elizabeth I as symbols of loyalty to the Tudor regime. They may be based on a lost original, or be derived from Pietro Torrigiano's sculpture of Margaret on her tomb in Westminster Abbey, in which she wears the same headdress.[22] Torrigiano, who probably arrived in England in 1509, was commissioned to make the sculpture in the following year.[23]
One variant by Rowland Lockey shows her at prayer in her richly furnished private closet behind her chamber. The plain desk at which she kneels is draped with a richly-patterned textile that is so densely encrusted with embroidery that its corners stand away stiffly. Her lavishly illuminated Book of Hours is open before her, with its protective cloth wrapper (called a "chemise" binding), spread out around it. The walls are patterned with oak leaf designs, perhaps in lozenges, perhaps of stamped and part-gilded leather. Against the wall hangs the dosser of her canopy of estate, with the tester above her head (the Tudor rose at its centre) supported on cords from the ceiling. The coats-of-arms woven into the tapestry are of England (parted as usual with France) and the portcullis badge of the Beauforts, which the early Tudor kings later used in their arms. Small stained glass roundels in the leaded glass of her lancet windows also display elements of the arms of both England (cropped away here) and Beaufort.[citation needed]

Titles, styles, honours and arms[edit source | editbeta]

Margaret Beaufort's arms as wife of Edmund Tudor[24]

Titles and styles[edit source | editbeta]

  • 1443-1455: Lady Margaret Beaufort
  • 1455-1456: The Countess of Richmond
  • 1456-1462: Dowager Countess of Richmond
  • 1462-1471: Lady Stafford (Also informally, Dowager Countess of Richmond)
  • 1472-1485: Baroness Stanley
  • 1485-1509: The Countess of Richmond and Derby (Also informally as My Lady The King's Mother)

In historical fiction[edit source | editbeta]

  • Betty King, The Lady Margaret, pub 1965, a story about the marriage of Margaret Beaufort and Edmund Tudor, parents of King Henry VII
  • Betty King, The King's Mother, pub 1969, sequel to the above, the story of the widowed Margaret Beaufort. mother of the future King Henry VII
  • Iris GowerDestiny's Child. 1999. This novel was originally published in 1974 as Bride of the Thirteenth Summer, under the name Iris Davies.
  • Philippa GregoryThe Constant Princess, a story about the young Catherine of Aragon and her early life in England
  • Philippa Gregory, The White Queen, pub 2009, (Book 1 in the Cousins' War series – about Elizabeth Woodville)
  • Philippa Gregory, The Red Queen, pub 2010, (Book 2 in the Cousins' War series – about Margaret Beaufort herself)
  • Philippa Gregory, The Kingmaker's Daughter, pub 2012, (Book 4 in the Cousins' War series – about Anne Neville)
  • Philippa Gregory, The White Princess, pub 2013, (Book 5 in the Cousins' War series – about Elizabeth of York)

In film[edit source | editbeta]

The character of Lady Margaret, portrayed by Marigold Sharman, appears in eight episodes of the BBC miniseries Shadow of the Tower, opposite James Maxwell as her son Henry VII. She is portrayed as a woman of extreme ambition and piety, with a hint of ruthlessness for those who stand in the way of the Tudor Dynasty.
Channel 4 and RDF Media produced a drama about Perkin Warbeck for British television in 2005, Princes in the Tower. It was directed by Justin Hardy and starred Sally Edwards as Lady Margaret, opposite Paul Hilton as Henry VII, Mark Umbers as Warbeck, and Nadia Cameron Blakey as Elizabeth of York. In this drama, Margaret is depicted as the power behind the throne, a hardened woman of fanatical devotion to both God and herself. She is referenced as a victim of abuse and power who, used by men all her life, became as ruthless and callous as those around her.
In 2013, Amanda Hale portrayed Lady Margaret Beaufort in the television drama series, The White Queen, which will be shown on BBC OneStarz, and VRT.

Ancestors[edit source | editbeta]

Through her father, Lady Margaret Beaufort was a granddaughter of John Beaufort, 1st Earl of Somerset, a great-granddaughter of John of Gaunt, 1st Duke of Lancaster and his mistress and third wife Katherine Swynford, and a great-great-granddaughter of King Edward III of England.
Following Gaunt's marriage to Katherine, their children (the Beauforts) were legitimised, but the legitimation carried a condition: their descendants were barred from inheriting the throne. Lady Margaret's own son Henry VII (and all English, British, and UK sovereigns who followed) are descended from Gaunt and Swynford, Henry VII having come to the throne not through inheritance but by force of arms.
Margaret's ancestors in three generations
 
 
 
 
John of Gaunt, Duke of Lancaster
 
 
John Beaufort, 1st Earl of Somerset
 
 
 
 
 
 
Katherine Swynford
 
 
John Beaufort, 1st Duke of Somerset
 
 
 
 
 
 
Thomas Holland, 2nd Earl of Kent
 
 
Margaret Holland
 
 
 
 
 
 
Alice FitzAlan
 
Lady Margaret Beaufort
 
 
 
 
 
Sir Roger Beauchamp
 
 
John, Baron Beauchamp of Bletso
 
 
 
 
 
 
Mary Beauchamp
 
 
Margaret Beauchamp of Bletso
 
 
 
 
 
 
Sir John Stourton
 
 
Edith Stourton
 
 
 
 
 
 
Jane Basset
 

Notes and references[edit source | editbeta]

  1. ^ "Beaufort", and "Pronunciation Guide", §22, in Webster's Biographical Dictionary (1943), Springfield, MA: Merriam-Webster.
  2. ^ Jones & Underwood, 34.
  3. ^ Jones & Underwood, 35.
  4. ^ Jones & Underwood, 35–36.
  5. ^ Jones & Underwood, 33.
  6. ^ Gristwood, Sarah (2012). Blood Sisters. p. 36.
  7. a b c Jones & Underwood, 37.
  8. ^ Richardson, Henry Gerald;, Osborne Sayles, George (1993).The English Parliament in the Middle Ages. Continuum International Publishing Group. ISBN 0-9506882-1-5. Retrieved 25 July 2009.
  9. ^ Wood, Diana (2003). Women and religion in medieval England. Oxbow. ISBN 1-84217-098-8. Retrieved 25 July 2009.
  10. ^ Jones & Underwood, 40.
  11. ^ David Lourdes(2012) The Tudors:History of a Dynasty p3
  12. ^ Krug, 84.
  13. ^ Jones & Underwood, 41.
  14. ^ Jones & Underwood, 144.
  15. ^ Jones & Underwood
  16. ^ Jones & Underwood, 187.
  17. ^ Barbara J. Harris, “Women and Politics in Early Tudor England,” The Historical Journal, 33:2, 1990, p.259.
  18. ^ Jones & Underwood, 292.
  19. ^ Krug, 85.
  20. ^ Arlene Okerlund, Elizabeth: England's Slandered Queen, Stroud: Tempus, 2006, 245.
  21. ^ Robinson, W.J. (1915). West Country Churches. Bristol: Bristol Times and Mirror Ltd. pp. 6–10.
  22. ^ Strong, Roy, Tudor & Jacobean Portraits, The National Portrait Gallery, London 1969, p.20
  23. ^ Wyatt, Michael, The Italian Encounter with Tudor England: A Cultural Politics of Translation, Cambridge University Press, 2005, p.47.
  24. ^ Boutell, Charles (1863). A Manual of Heraldry, Historical and Popular. London: Winsor & Newton. p. 146.